มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
Rajamangla University of Technology Tawan-ok
43 หมู่ 6 ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20210
โทรศัพท์ 0-3835-8137 โทรสาร 0-3834-1808-9
http://www.rmutto.ac.th/

ประกาศ

เนื่องจาก Geocities.com จะยกเลิกให้ใช้บริการ free host ในเดือนตุลาคมปี 2009 ซึ่งข้อมุลผมส่วนใหญ่จะนำไปฝากไว้ที่นี่ แย่แล้ว กำลังที่ฝากใหม่อยุ่คั้บ หรือไม่ก็จะย้ายเข้ามาที่ Blogspot ที่เดียวเลย



อธิราช

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

จีนไฟเขียวออกใบอนุญาตนำเข้าผลไม้จากไทยผ่านเส้นทาง R9 แล้ว

 
 

จีนไฟเขียวออกใบอนุญาตนำเข้าผลไม้จากไทยผ่านเส้นทาง R9 แล้ว
กรมวิชาการเกษตร 13 ก.ค-กรมวิชาการเกษตร เผยจีนไฟเขียวออกใบอนุญาตนำเข้าผลไม้จากไทยแล้ว โดยใช้เส้นทางขนส่งสาย R9 จากไทย ลาว เวียดนาม สู่ด่านผิงเสียงของจีน สามารถร่นระยะเวลาในการขนส่งเหลือเพียง 2-3 วัน คาดมูลค่าส่งออกไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท/เดือน

นายสมชาย ชาญณรงค์กุล อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยความคืบหน้าการส่งออกสินค้าเกษตรผ่านประเทศที่ 3 ไปยังจีน โดยใช้เส้นทางสาย R9 จากไทย ลาว เวียดนาม เข้าสู่ด่านผิงเสียง (โหย่วอี้กว่าน) ของจีนว่า ขณะนี้กระทรวงควบคุมคุณภาพและตรวจสอบกักกันโรคแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ออกใบอนุญาตนำเข้าแก่ผู้ส่งออกไทยแล้ว 1 บริษัท โดยด่านตรวจพืชมุกดาหาร กรมวิชาการเกษตร จะเริ่มตรวจปล่อยสินค้าล็อตแรกส่งออกไปจีนผ่านเส้นทาง R9 นี้ ตั้งแต่วันที่ 14 ก.ค.นี้เป็นต้นไป

สำหรับสินค้าผลไม้ที่ส่งออกล็อตแรกมี 4 ตู้คอนเทนเนอร์ แยกเป็นส้มโอจาก จ.นครปฐม 1 ตู้คอนเทนเนอร์ ลำไยจากเชียงใหม่ 2 ตู้คอนเทนเนอร์ และมังคุดจากนครศรีธรรมราช 1 ตู้คอนเทนเนอร์ คิดเป็นมูลค่ากว่า 1 ล้านบาท ในช่วงเดือนแรกนี้คาดว่าไทยจะสามารถผลักดันส่งออกผลไม้ไปได้ไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท/เดือน

ปัจจุบันทางจีนกำลังอยู่ระหว่างพิจารณาออกใบอนุญาตนำเข้าผู้ส่งออกของไทยเพิ่มอีกประมาณ 10-20 ราย คาดว่าไทยจะสามารถระบายสินค้าผลไม้ส่งออกไปยังจีนได้ปริมาณมาก โดยเฉพาะผลไม้เศรษฐกิจหลัก อาทิ ส้มโอ มังคุด ทุเรียน ลำใย ลิ้นจี่ และมะม่วง รวมถึงสินค้ายางพารา คิดเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่า 100-200 ล้านบาท ทั้งนี้ การขนส่งด้วยเส้นทาง R9 สามารถร่นระยะเวลาในการขนส่งจากเดิมที่ขนส่งทางเรือใช้ระยะเวลาประมาณ 5-7 วัน เหลือเพียง 2-3 วัน ทำให้สินค้าถึงประเทศปลายทางได้อย่างรวดเร็วทันต่อความต้องการของตลาด

อย่างไรก็ตาม กรมวิชาการเกษตรได้เสริมกำลังเจ้าหน้าที่ด่านตรวจพืชมุกดาหารเพิ่มมากขึ้น เพื่อเพิ่มความคล่องตัวและอำนวยความสะดวกในการตรวจสอบ พร้อมออกใบรับรองสุขอนามัยพืชให้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อควบคุมการส่งออกให้เป็นไปตามเงื่อนไขการขนส่งสินค้าข้ามแดน และข้อกำหนดด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ตามข้อตกลงไทย-จีน.-สำนักข่าวไทย


อัพเดตเมื่อ 2009-07-13 16:06:14
 

กรมการข้าวเตือนเกษตรกรระวังเพลี้ยจักจั่นสีเขียวระบาด

กรมการข้าวเตือนเกษตรกรระวังเพลี้ยจักจั่นสีเขียวระบาด
กรมการข้าว 9 ก.ค.- กรมการข้าว เผย พบเพลี้ยจักจั่นสีเขียวระบาดในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดใกล้เคียง เตือนเกษตรกรให้เฝ้าระวังการเพิ่มขึ้นของเพลี้ยจักจั่นสีเขียวอาจสร้างความเสียหายให้กับนาข้าวได้

นายประเสริฐ  โกศัลวิตร  อธิบดีกรมการข้าว  เปิดเผยว่า ศูนย์ปฏิบัติการติดตามสถานการณ์ข้าว กรมการข้าว รายงานถึงสถานการณ์ศัตรูข้าว ว่า เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา พบเพลี้ยจักจั่นสีเขียวที่นับจากแสงดักไฟในศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรีเพิ่มขึ้น ดังนั้น เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดใกล้เคียง ควรเฝ้าระวังการระบาดของเพลี้ยจักจั่นสีเขียวในแปลงนา ซึ่งอาจสัรางความเสียหายให้กับแปลงนาข้าวเป็นอย่างมาก เนื่องจากเพลี้ยจักจั่นสีเขียวตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบข้าว อาจทำให้ข้าวแห้งตาย และยังเป็นแมลงพาหะของโรคไวรัสใบสีส้ม  ทั้งนี้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจแมลงที่โคนข้าว หากพบเพลี้ยจักจั่นสีเขียว 10 ตัวต่อกอ ควรควบคุมด้วยสารฆ่าแมลงบูโพรเฟซิน (แอพพลอด) เพื่อป้องกันการลอกคราบของแมลง แต่ควรหลีกเลี่ยงการใช้สารกลุ่มไพรีทรอยสังเคราะห์ เพราะสารกลุ่มนี้จะทำลายศัตรูธรรมชาติ ซึ่งจะเป็นการเร่งการระบาดของเพลี้ยจักจั่นสีเขียว และเพลี้ยกระโดดอื่น ๆ. – สำนักข่าวไทย


อัพเดตเมื่อ 2009-07-09 15:07:49

เผยผลสำรวจข้อมูลผลไม้ 4 ชนิดใน 7 จังหวัดภาคใต้ เนื้อที่ปลูกลดลงแต่ผลผลิตเพิ่มขึ้น

เผยผลสำรวจข้อมูลผลไม้ 4 ชนิดใน 7 จังหวัดภาคใต้ เนื้อที่ปลูกลดลงแต่ผลผลิตเพิ่มขึ้น

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 10 ก.ค – สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 8 เผยผลสำรวจข้อมูลผลไม้ 4 ชนิด คือ เงาะ ทุเรียน มังคุด และลองกอง พบเนื้อที่ในการเพาะปลูกลดลงแต่ผลผลิตกลับเพิ่มมากขึ้น เตรียมเร่งฟื้นระบายผลผลิตออกสู่ตลาด คาดอาจมีแนวโน้มราคาลดลงเนื่องจากเป็นช่วงที่ผลไม้ภาคเหนือออกมาพร้อมด้วยเช่นกัน

นายมนตรี เมืองพรหม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปิดเผยถึงความร่วมมือกันระหว่าง สศข.8 กับสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดสงขลา และสำนักงานเกษตรจังหวัดใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต พังงา ระนอง และชุมพร ได้ร่วมกันออกสำรวจข้อมูลผลไม้ 4 ชนิด คือ เงาะ ทุเรียน มังคุด และลองกอง ตั้งแต่เดือนเมษายน จนถึงวันที่ 16 มิ.ย.  พบว่า เนื้อที่ในการปลูกผลไม้ทั้ง 4 ชนิดลดลง แต่ผลผลิตกลับเพิ่มขึ้น

โดยเมื่อเปรียบเทียบกับเมื่อปีที่แล้ว เงาะมีเนื้อที่ยืนต้นลดลง ร้อยละ 11.30 เนื้อที่ให้ผลลดลงร้อยละ 11.58 แต่ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.49 ทุเรียน มีเนื้อที่ยืนต้นลดลงร้อยละ 5.71 เนื้อที่ให้ผลลดลงร้อยละ 5.42 มีผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.41  สำหรับมังคุด มีเนื้อที่ยืนต้นลดลงร้อยละ 2.54 เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.46 และผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 144.68 และลองกอง มีเนื้อที่ยืนต้นลดลงร้อยละ 0.76 เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.90 และผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 105.31  โดยผลผลิตจะออกสู่ตลาดพร้อมกันมากในเดือน ก.ค. ร้อยละ 27.99 และมากที่สุดในเดือน ส.ค. ร้อยละ 35.12 ซึ่งในช่วงระหว่างนี้ ทางภาคเหนือลำใยออกมาพร้อมด้วยเช่นกัน คาดว่าอาจจะมีผล ทำให้ผลไม้ทั้ง 4 ชนิดมีแนวโน้มราคาลดลง

อย่างไรก็ตาม สศข.8 และทุกหน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบทั้ง 7 จังหวัด ได้เตรียมการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรในการระบายผลผลิตออกสู่ตลาดด้วยกลไกตามปกติ โดยไม่มีการแทรกแซงราคา พร้อมจัดหาตลาดส่งเสริมการขายให้กับเกษตรกร เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในกรณีที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก เพื่อแก้ไขปัญหาราคาตกต่ำอีกด้วย.-สำนักข่าวไทย


อัพเดตเมื่อ 2009-07-10 13:15:25

กำหนด 3 มาตรการแก้ปัญหาผลไม้ภาคใต้ล้นตลาด

 

กำหนด 3 มาตรการแก้ปัญหาผลไม้ภาคใต้ล้นตลาด
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 13 ก.ค.-กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เตรียมใช้ 3 มาตรการตั้งแต่การบริหารจัดการ ช่องทางการตลาด ตลอดจนรณรงค์ส่งเสริมการบริโภค เพื่อแก้ปัญหาผลไม้ภาคใต้ล้นตลาดในช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายนนี้

นายมนตรี เมืองพรหม ผอ.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 8 จ.สุราษฎร์ธานี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เปิดเผยว่า จากการที่รัฐบาลโดยคณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) ได้อนุมัติงบประมาณกว่า 375 ล้านบาท ให้หน่วยงานในแต่ละจังหวัดภาคใต้สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เตรียมรับมือกับสถานการณ์ราคาไม้ผลในภาคใต้ตกต่ำ เนื่องจากผลผลิตเงาะ ทุเรียน มังคุด และลองกองของภาคใต้ในปีนี้ได้ผลดี ประกอบกับทางภาคเหนือจะมีลำไยออกสู่ท้องตลาด จึงอาจส่งผลให้ไม้ผลทั้ง 4 ชนิดมีราคาลดลง กระทรวงเกษตรฯ จึงมีมาตรการแก้ไขปัญหา 3 มาตรการด้วยกัน

ทั้งนี้ มาตรการที่ 1 ใช้งบประมาณ 44 ล้าน ใช้ในการบริหารจัดการผลผลิตด้วยการจ้างเหมาแรงงานให้กับศูนย์คัดแยกผลไม้ในการรวบรวมผลผลิต โดยทำความสะอาด คัดแยกเกรด บรรจุลงกล่อง และขนส่งในอัตรากิโลกรัมละ 2.50  บาท รวมเป็นงบประมาณกว่า 40 ล้านบาท ขณะเดียวกันอีก 4  ล้านบาท จะใช้ในการจัดซื้อเงาะตกเกรดไปทำปุ๋ยชีวภาพ และมอบให้แก่เกษตรกรไปใช้แทนปุ๋ยเคมี

มาตรการที่ 2 ใช้งบประมาณ 323 ล้านบาท เพื่อเร่งกระจายผลผลิตออกนอกเขตภาคใต้ในช่วงระยะเวลาที่ผลผลิตออกมาก โดยการสนับสนุนค่าขนส่งให้กับสถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน รวมถึงศูนย์คัดแยกผลไม้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยภาคใต้ตอนบนอัตราเฉลี่ยกิโลกรัมละ 3 บาท และภาคใต้ตอนล่าง อัตราเฉลี่ยกิโลกรัมละ 6 บาท รวมวงเงินประมาณ 220 ล้านบาท รวมทั้งสนับสนุนกล่องกระดาษขนาด 12.50 กิโลกรัม สำหรับบรรจุผลไม้เพื่อให้การขนส่งสะดวกและรวดเร็วอีกประมาณ 23 ล้านบาท  นอกจากนี้ ยังสนับสนุนเงินกู้แก่ศูนย์คัดแยกผลไม้ชุมชนไปเป็นเงินทุนหมุนเวียนรับซื้อผลไม้อีก 80 ล้านบาท

ส่วนมาตรการที่ 3 ใช้งบประมาณ 8 ล้านบาท รณรงค์ส่งเสริมการจำหน่ายและบริโภคผลไม้ให้แพร่หลาย เป็นจำนวน 1 ล้านบาท ส่วนที่เหลืออีกประมาณ 7 ล้านบาท จะใช้ในการบริหารจัดการโครงการนี้แก่หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดตามประเมินผล.-สำนักข่าวไทย


อัพเดตเมื่อ 2009-07-13 18:16:42
 

สศก.หวั่นเพลี้ยแป้งระบาดซ้ำ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร


สศก.หวั่นเพลี้ยแป้งระบาดซ้ำ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
9 ก.ค

– สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ชี้หากเพลี้ยแป้งระบาดซ้ำในไร่มันสัมปะหลัง อาจส่งผลต่อเนื่องทำให้ผลผลิตมันสัมปะหลังในปี 2553 ลดลง แนะเกษตรกรควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการระบาด

นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หรือ (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า พบการระบาดในแหล่งปลูกมันสัมปะหลังตั้งแต่เดือนเมษายน โดยเพลี้ยแป้งได้ระบาดกระจายเป็นวงกว้างมากกว่า 1.4 ล้านไร่ ใน 18 จังหวัด โดยในเดือนมิถุนายน มีพื้นที่ระบาดรุนแรง 250,000 ไร่ ในจังหวัดสำคัญ ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี กาญจนบุรี ลพบุรี กำแพงเพชร พิษณุโลก ชลบุรี และสระแก้ว ปัจจุบันสถานการณ์การระบาดได้ลดความรุนแรงลงแล้ว เนื่องจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสัมปะหลังแห่งประเทศไทยได้ดำเนินมาตรการป้องกันกำจัด ประกอบกับมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ปริมาณของเพลี้ยแป้งลดลง

อย่างไรก็ตาม ผลจากการระบาดของเพลี้ยแป้ง จะทำให้การเก็บเกี่ยวหัวมันในพื้นที่ระบาดล่าช้ากว่าปีปกติ เนื่องจากต้นมันสัมปะหลังสูญสียการสะสมแป้งในหัวมัน และมีการปลูกซ่อมในพื้นที่เสียหายสิ้นเชิง ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องให้ผลผลิตของปี 2553 ลดลงจากที่ประมาณการไว้ ทั้งนี้ เกษตรกรที่เริ่มปลูกมันสัมปะหลังในระยะการระบาดของเพลี้ย ควรมีการป้องกันกำจัดเพลี้ยอย่างถูกต้อง ต้องระวังดูแลอย่างใกล้ชิด และติดตามสถานการณ์ในพื้นที่ระบาดอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการระบาดซ้ำ.


-สำนักข่าวไทย


อัพเดตเมื่อ 2009-07-09 15:54:15

สัมนาพืชศาสตร์ ปี 2/2545 เกษตรศาสตร์บางพระ


*โปสเตอร์ตัวห้ำ (ไฟล์ zip)
*สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ (ไฟล์ zip)
*ข้อมูลตัวห้ำ
*ข้อมูลตัวเบียน
*การใช้ไส้เดือนฝอยควบคุมหนอนกินใต้ผิวเปลือกลำต้นลองกอง
*แมลงและศัตรูธรรมชาติของพืชผักและถั่วเหลืองฯ
*การป้องกันอันตรายขณะใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในภูมิอากาศร้อน
*หอยเชอรี่และการป้องกันกำจัด
*การใช้เชื้อราบิวเวอร์เรีย ( ไฟล์ zip)
*โรคไหม้ของข้าว
*คู่มือการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
*แมลงดีและร้ายในนาข้าว
*หนู...ศัตรูอันตรายและการป้องกันกำจัด
*การป้องกันและกำจัดหนู (1)
*การป้องกันกำจัดหนู(2)
*การจัดการหอยเชอรี่ (Download)
*การป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้
*การควบคุมวัชพืชในนาข้าวโดยวิธีผสมผสาน
*การใช้สารสกัดจากสะเดาเพื่อฆ่าแมลงศัตรูพืช
*การป้องกันและกำจัดตั๊กแตนโลกัสต้า
*การป้องกันและกำจัดวัชพืชในสวนไม้ผล-ไม้ยืนต้น
*การป้องกันกำจัดศัตรูข้าวโดยวิธีผสาน
*การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคเหี่ยวของพริก
*เครื่องพ่นยาแบบสะพายหลังชนิดสูบโยก
*เครื่องพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
*เพลี้ยไฟกล้วยไม้และการป้องกันกำจัด
*เพลี้ยจั๊กจั่นช่อมะม่วง
*โรคที่สำคัญของถั่วลิสง
*แมลงศัตรูธรรมชาติในไร่อ้อย
*โรคมันฝรั่ง
*โรคไหม้ของข้าว
*โรคถั่วฝักยาว
*โรคที่สำคัญของถั่วเหลือง
*โรคทุเรียน
*โรคที่สำคัญของฝ้าย
*โรคพืชตระกูลกะหล่ำ
*โรคพืชตระกูลแตง
*โรคพืชตระกูลมะเขือ
*โรคพืชตระกูลหอม
*โรคพืชตระกูลถั่ว
*เพลี้ยไฟ
*แมลงหวี่ขาว
*เพลี้ยอ่อน
*แมลงเต่า 28 จุด

*ข้าวโพดหวาน
*ถั่วแดงหลวง
*กลุ่มปอแก้ว
*ถั่วหรั่ง
*ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
*ข้าวโพดฝักอ่อน
*ข้าวฟ่างไม้กวาด พันธุ์เคยูบี 1
*ข้าวฟ่าง การปลูกข้าวฟ่าง
*ถั่วเขียว : การปลุกถั่วเขียว
*ถั่วเขียว : ถั่วเขียวผิวดำพันธุ์พิษณุโลก 2
*ถั่วแดง หรือ ถั่วนิ้วนางแดง
*ถั่วลิสง : โรคที่สำคัญของถั่วลิสง
*ถั่วเหลือง : การปลูกถั่วเหลือง
*ถั่วเหลือง : การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองไว้เป็นพันธุ์ปลูก
*ถั่วเหลือง โรคที่สำคัญของถั่วเหลือง
*ถั่ว อาหารสัตว์และการผลิตเมล็ดพันธุ์
*มันฝรั่ง โรคมันฝรั่ง
*มันสำปะหลัง พันธุ์ระยอง 5
*สับปะรด การปลูกสับปะรด
*ถั่ว ผสมปุ๋ยใช้เองเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืชตระกูลถั่ว
*กระถินเทพา การปลูกและการดูแลรักษา
*ข้าวโพดหวาน พันธุ์รับรอง
*อ้อยพันธุ์รับรอง
*กลุ่มปอคิวบา
*กลุ่มปอกระเจา
*ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พันธุ์รับรอง
*ข้าวโพดฝักอ่อน พันธุ์รับรอง
*ทานตะวัน การปลูกดอกทานตะวัน
*ปอ การผลิตปอฟอกให้ได้คุณภาพ
*ปอกระเจา การปลูกปอกระเจาชนิดฝักยาว
*ปอแก้ว เทคนิคการเก็บเกี่ยวและแช่ฟอกปอแก้วไทย
*ปอสา และการทำกระดาษสา
*ปอสา การเก็บเกี่ยวปอสา
*ฝ้าย การเก็บเกี่ยวและมาตรฐานฝ้ายดอกของไทย
*ฝ้าย โรคที่สำคัญของฝ้าย
*อ้อย แมลงศัตรูธรรมชาติในไร่อ้อย
*อ้อย ยอดอ้อยอาหารหยาบทดแทนในฤดูแล้ง
*อ้อย การจัดการดินและการใช้ปุ๋ยในไร่อ้อย
*เมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืช
*พืชอายุสั้น การปลูกพืชอายุสั้นในสภาวะแห้งแล้ง
*งา การปลูกและการดูแลรักษา
*มันสำปะหลัง การปลูกมันสำปะหลัง

*ไผ่
*กาแฟ
*มะพร้าวอ่อน
*ปาล์มน้ำมัน
*ฝรั่ง
*ลองกอง 2
*ส้มเขียวหวาน 2
*สะตอ
*ชา
*มะม่วงหิมพานต์
*อนาคตของหมากไทยจะเป็นอย่างไร
*ยางพารา
*สับปะรด
*เงาะ
*ส้มโอ 2
*กล้วยหอม
*ลิ้นจี่
*มะละกอ
*มังคุด
*มะขามหวาน
*ทุเรียน
*มะขามเปรี้ยว 2
*ระยะการเจริญเติบโตของทุเรียน/กิจกรรม
*ลำไย
*กิจกรรมตามช่วงการเจริญเติบโตของมะม่วง (ในฤดู)
*มะพร้าวตัดยอดเพื่อการค้า
*กล้วย นานาชนิด
*เงาะ ดัชนีการเก็บเกี่ยวเงาะเพื่อการส่งออก
*มาปลูกต้นไม้กันเถอะ
*ไหมพันธุ์ส่งเสริม
*กระท้อน การปลูกกระท้อน
*ชมพู่ การปลูกชมพู่
*ขนุน การปลูกขนุน
*ทุเรียน การปลูกทุเรียน
*ชา การปลูกชา
*ท้อ การปลูกท้อ
*ทุเรียน โรคของทุเรียน(1)
*บ๊วย การปลูกบ๊วย
*นุ่น การปลูกและการจัดการ
*ฝรั่ง การปลูกฝรั่ง
*ไผ่ตง การปลูกไผ่ตง
*มะม่วง การปลูกมะม่วง(1)
*พลับ การปลูกพลับ
*มะม่วง สารเร่งดอกมะม่วง
*มะม่วง การปลูกมะม่วง(2)
*มะม่วง การผลิตมะม่วงนอกฤดูโดยการเสียบกิ่ง
*มะม่วง เพลี้ยจั๊กจั่นช่อมะม่วง
*มะม่วง ดัชนีการเก็บเกี่ยวมะม่วงเพื่อการส่งออก
*มะม่วง การปรับปรุงสวนมะม่วงที่เสื่อมโทรม
*มะม่วงหิมพานต์ การขยายพันธุ์มะม่วงหิมพานต์
*มะขาม การปลูกมะขาม
*มะขามเปรี้ยว ศรีสะเกษ 019
*มะขามเปรี้ยว ปฏิทินการปฏิบัติดูแลรักษา สวนมะขามเปรี้ยว
*มะพร้าว การปลูกมะพร้าว
*มะขามเทศ การปลูกมะขามเทศ
*มะนาว การปลูกมะนาว
*มะพร้าวอ่อน การปลูกมะพร้าวอ่อน
*มังคุด ดัชนีการเก็บเกี่ยวมังคุดเพื่อการส่งออก
*มังคุด การปลูกมังคุด
*ยางพารา การปลูกยางพารา
*ไม้ผลในรั้วบ้าน
*ยางพารา การทำยางแผ่นชั้นดี
*ยางพารา การกรีดยาง
*ลำไย การเสริมรากลำไย
*ลำไย การขยายพันธุ์ลำไย
*ส้มเขียวหวาน การปลูกส้มเขียวหวาน
*ลองกอง การปลูกลองกอง
*ส้มโอ ไม้ผลเศรษฐกิจ
*ส้มโอ การปลูกส้มโอ
*สะเดา การปลูกสะเดา
*สตรอเบอรี่ การปลูกสตรอเบอรี่
*หม่อนไหม การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
*สะตอ การปลูกสะตอ
*แอปเปิล การปลูกแอปเปิล
*หม่อนไหม การตีราคารังไหม
*มะพร้าวอ่อน
*องุ่น การปลูกองุ่น
*มะพร้าวน้ำหอม
*ลางสาด
*ฝรั่งไร้เมล็ด
*ลองกอง
*สละ
*มะปราง
*กล้วย
*เงาะ
*ชมพู่
*มะปราง
*สละ
*ทุเรียน
*ขนุน
*ฝรั่งไร้เมล็ด
*ส้มโอ
*มะพร้าวน้ำหอม
*มะพร้าวอ่อน
*มังคุด
*ลองกอง
*ลางสาด
*ส้มเขียวหวาน
*ลำใย
*แก้วมังกร อนาคตที่น่าจับตามอง
*ผลไม้ไทยศักยภาพการส่งออกของไทย

*การปลูกผักระบบเกษตรอินทรีย์
*การปลูกผักหลังน้ำลด
*กะหล่ำปม
*ตำลึง
*ผักชีลาว
*ผักแพงพวย
*แห้ว
*ฟักแม้ว
*กุ่มบก
*ผักกาดเขียวปลี
*ผักชีฝรั่ง
*ข้อมูลการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินหรือไฮโดรโปนิกส์
*เห็ดฟาง
*หอมแดง
*การปลูกพืชผักระบบไฮโดรโปนิกส์
*เครื่องเทศ
*ผักหวานป่า
*การปลูกแตงกวา
*การปลูกขมิ้นชัน
*กระเจี๊ยบเขียว
*การปลูกถั่วฝักยาว
*ผักบุ้งจีน
*ปูเล่ การปลูกปูเล่(1)
*ปูเล่ การปลูกปูเล่(2)
*การปลูกแตงโม
*ผักปลอดภัยจากสารพิษ
*ผักกาดหอม (ผักสลัด)
*มันแกว
*มะเขือม่วง
*ขมิ้นขาว
*ผักกาดหวาน
*กุยช่าย
*แครอท
*กะหล่ำดาว
*มะระจีน
*ผักปลอดภัยจากสารพิษ
*กระเทียม
*การปลูกกะหล่ำปลี
*การปลูกผักในโรงเรือน
*การปลูกหน่อไม้ฝรั่ง
*การผลิตพันธุ์ขิง
*การเพาะเห็ดฟาง
*ผักกาดขาวปลี
*การเพิ่มผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อน
*เห็ดฟาง การเพาะเห็ดฟาง
*การปลูกฟักทอง
*การปลูกสมุนไพร
*การปลูกโหระพา
*การปลูกผักชี
*การปลูกผักกาดขาว
*การเพาะเห็ดนางฟ้า
*การปลูกผักกาดหอม
*ขิง
*ผักกาดหอมห่อ
*เผือก
*ขจร
*ผักกาดหัว (หัวไชเท้า)
*ขึ้นฉ่าย
*การปลูกผักกวางตุ้งด้วยวิธีการทางชีวภาพ
*น้ำเต้า
*ผักพื้นบ้าน
*การเพาะเห็ดหอมจากขี้เลื่อย
*การปลูกหน่อไม้ฝรั่งหน่อขาว
*การเพาะเห็ดฟางจากเปลือกถั่วเขียว
*เห็ดเศรษฐกิจที่เพาะได้ในประเทศไทย
*การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
*การปลูกข้าวโพดฝักอ่อน
*การปลูกมะเขือเทศ
*ถั่วฝักยาว โรคถั่วฝักยาว
*การปลูกเผือก
*การปลูกสะระแหน่
*การปลูกกะเพรา
*การปลูกบวบเหลี่ยม
*การปลูกผักกาดเขียวกวางตุ้ง
*การปลูกคะน้า
*ผักสวนครัว
*การปลูกกระหล่ำดอก
*สาค
*การเพาะเห็ดโคนน้อย
*การเพาะเห็ดนางฟ้า
*การเพาะเห็ดหลินจือ
*การผลิตคะน้ายอด
*คะน้า
*ผักกะเฉด
*ผักกาดขาว
*หอม
*ผักชี
*แตงกวา
*ถั่วฝักยาว
*ผักหวานป่า
*ฟักทอง
*ผักบุ้ง
*มะละกอ
*เทคนิคปลูกแตงโมจินตรา
*ผักพื้นบ้านกับสารต้านอนุมูลอิสระ1
*ผักพื้นบ้านกับสารต้านอนุมูลอิสระ2
*ผักอาหารสำคัญของมนุษย์1
*ผักอาหารสำคัญของมนุษย์2
*ผักปลอดสารพิษ


*บัวหลวง
*กล้วยไม้
*กุหลาบ
*ดาวเรือง
*เบญจมาศ
*แกดิโอลัส
*พรินซ์ออฟออเรนจ์
*อโกลนีมา
*สร้อยทอง
*เฟิร์นนาคราช
*หน้าวัว
*บัว
*ปทุมมา
*มะลิ
*ดาวเรือง
*ลิลลี่
*กล้วยไม้
*การทำนาบัว
*การปลูกดอกกุหลาบ
*การปลูกดอกทานตะวัน
*การปลูกดาวเรือง
*การปลูกมะลิ
*การปลูกไม้ดอกสกุลหน้าวัว
*เบญจมาศ
*โป๊ยเซียน
*ไม้ดอกกระถาง
*การป้องกันและกำจัดศัตรูไม้ดอกไม้ประดับ
*การปลูกเบญจมาศ
*ปทุมมา
*บอนส
*บอนสี
*การผลิตไม้ตัดดอก "จำปี-จำปา"
*การผลิตไม้ตัดดอก "ซ่อนกลิ่น"
*การผลิตไม้ตัดดอก "ธรรมรักษา"
*การผลิตไม้ตัดดอก "มะลิ"
*การผลิตไม้ตัดดอก "แกลดิโอลัส"
*การผลิตไม้ตัดดอก "แอสเตอร์และแอสเตอร์จีน"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "การปลูกกล้วยตัดดอก"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "การปลูกขิงแดง"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "การปลูกคล้า"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "การปลูกดาหลา"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "การปลูกปทุมมาและกระเจียว"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "ขิงอินโดนีเซีย"
*ไม้ตัดดอกเขตร้อน "เอื้องหมายนา"

ข้าวดอกมะลิ 105 นอกฤดู
โรคไหม้ของข้าว
พันธุ์ข้าว กข.6
พันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105
พันธุ์ข้าวสุพรรณบุรี 2
พันธุ์ข้าวพิษณุโลก 2
พันธุ์ข้าวขัยนาท
พันธุ์ข้าวสุพรรณบุรี 1
คำแนะนำการทำนา
การปลูกข้าวล้มตอซัง
แมลงดีและร้ายในนาข้าว
ข้าวขาวดอกมะลิ 105
ข้าวอายุ 1 - 40 วัน ไม่ต้องใช้สารฆ่าแมลง
ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี
การปลูกข้าวตอซัง
ข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1
ข้าวสาลี
ข้าวเจ้าพลายงามปราจีนบุรี
ข้าวเหนียวแพร่ 1
ข้าวญี่ปุ่น ก.วก.1
การทำนาในสภาพฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วง
ข้าวญี่ปุ่น ก.วก.2
การควบคุมวัชพืชในนาข้าวโดยวิธีผสมผสาน
โรคไหม้ของข้าว
เครื่องเกี่ยวนวดข้าว
สิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ในนาข้าว
ข้าว (สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่ม3)
การป้องกันกำจัดศัตรูข้าวโดยวิธีผสาน
ข้าว (สืบสาวราวเรื่อง)
โรคจู๋ของข้าว
ข้าวกล้อง (ยาอายุวัฒนะ)
แหล่งไฟเบอร์หรือเส้นใยอาหาร
การปลูกข้าว


*ระเบียบกรมส่งเสริมการเกษตร ว่าด้วยมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวและพืชไร่ พ.ศ. 2545
*การป้องกันอันตรายขณะใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในภูมิอากาศร้อน
Thai horticulture
*ประวัติศาสตร์การศึกษาพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
*เครื่องฟักไข่เศรษฐกิจ
*การรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุ์
*ทฤษฎีใหม่
*ขบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์
*หญ้าแฝก
*เกษตรอินทรีย์
*การทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์แบบชาวบ้าน
*คู่มือการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
*การเตรียมและการใช้พืชสมุนไพรในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
*ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน
*การใช้และบำรุงเครื่องมือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
*ปุ๋ยพืชสด
*การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองไว้เป็นพันธุ์
*ไหมพันธุ์ส่งเสริม
*การตีราคารังไหม
*น้ำสกัดชีวภาพ
*การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก
*เศรษฐกิจพอเพียง
*การทำหญ้าหมัก
*จิ้งหรีด
*การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก
*โรงเรียนเกษตรกร
*การบรรจุหีบห่อ
*การปลูกพืชในนา
*การตรวจสอบคุณภาพน้ำนม
*ความรู้เรื่องดิน
*การให้อาหารโคนมโดยใช้คะแนนร่างกายเป็นเกณฑ์
*ความรู้เรื่องปุ๋ย
*การผลิตมะม่วงนอกฤดูโดยการเสียบกิ่ง
*การเก็บเกี่ยวฝ้ายและมาตรฐานฝ้ายดอกของไทย
*การทำปุ๋ยหมัก
*การทำหญ้าแห้ง
*การทำนาในสภาพฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วง
*การใช้ถั่วพร้าเป็นปุ๋ยพืชสดบำรุงดิน
*การกรีดยาง
*การปฏิบัติรักษาผ้าไหมไทย
*การจัดการดินและการใช้ปุ๋ยในไร่อ้อย
*การสาวไหมพุ่งด้วยเครื่องสาวไหมแบบปรับปรุง
*ข้อแนะนำในการใช้วัคซีนเกี่ยวกับภาวะภูมิแพ้
*การฟื้นฟูไม้ผลการปลูกไม้ผลหลังประสบอุทกภัย
*เทคโนโลยีในการปฏิบัติการฝนหลวง
*ปุ๋ยพืชสด
*คำแนะนำในการใช้วัคซีน
*การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
*ความรู้เกี่ยวกับอาหารสัตว์
*การเพาะเลี้ยงไรแดง
*ดัชนีการเก็บเกี่ยวเงาะเพื่อการส่งออก
*การขยายพันธุ์พืช
*ตารางการผสมปุ๋ยใช้เอง
*การใช้สารสกัดจากสะเดาเพื่อฆ่าแมลงศัตรูพืช
*เทคนิคการเก็บเกี่ยวและแช่ฟอกปอแก้วของไทย
*การปลูกพืชอายุสั้นในสภาวะแห้งแล้ง
*ผสมปุ๋ยใช้เองเพื่อลดต้นทุนการผลิตพืชตระกูลถั่ว
*การให้อาหารโคเนื้อและการจัดการทุ่งหญ้า
*แมลงศัตรูธรรมชาติในไร่อ้อย
*เครื่องเกี่ยวนวดข้าว
*ระบบแก๊สชีวภาพแบบฟิกซ์โดม
*คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
*สารเร่งดอกมะม่วง
*เครื่องมือห่อผลไม้แบบพัฒนา
*หญ้ากินนีสีม่วง
*ดัชนีการเก็บมะม่วงเพื่อการส่งออก
*การพัฒนาไหมในไทย
*ดัชนีการเก็บเกี่ยวมังคุดเพื่อการส่งออก
*การใช้ปุ๋ยพืชสดในนาข้าว
*เทคนิคการผสมเกสรทุเรียน
*การใช้ไรโซเบียมเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชตระกูลถั่ว
*ปุ๋ยปลอม
*การปรับปรุงบำรุงดิน
*ภาชนะบรรจุอาหาร
*น้ำสกัดชีวภาพ
*แมลงที่เป็นประโยชน์ทางการเกษตร
*พืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมเป็นสิ่งต้องห้าม
*สีผสมอาหารจากธรรมชาติ
*การใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องปลอดภัย
*สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
*การใช้ปุ๋ยพืชสดในพืชไร่
*อาหารพืช
*การผลิตเมล็ดพันธุ์โสนอัฟริกัน
*ปุ๋ยพืชสด
*CO2 กับบทบาทในการเก็บรักษาผลผลิต

สมาชิก วทบ.27 บุก ปางสีดา(82ภาพ)

บริการฝากรูป-ฝากไฟล์